คุณลักษณะรถพยาบาลกู้ชีพฉุกเฉินพร้อมเครื่องช่วยหายใจและเครื่องกระตุกหัวใจ จำนวน 1 คัน

10 มีนาคม 2559
 ประเภท : 
ข้อมูลรูปที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีข้อมูล!!

                                                                 รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ

                              รถพยาบาลกู้ชีพฉุกเฉินพร้อมเครื่องช่วยหายใจและเครื่องกระตุกหัวใจ

 

ข้อกำหนด    คุณลักษณะนี้มีอุปกรณ์ครบตามมาตรฐานที่สำนักงบประมาณกำหนด

วัตถุประสงค์       สามารถใช้ในการรับส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤติและฉุกเฉินไปยังโรงพยาบาลอื่น

ความต้องการจำเพาะ

1.             เป็นรถพยาบาลที่ให้การดูแลและรักษาผู้ป่วยในระดับ  Advanced  Life  Support  และส่งต่อ

      ผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลอื่นได้

2.             มีสัญญาณแสงและเสียง พร้อมตัวอักษร  ที่มองเห็นได้ง่ายสร้างความมั่นใจ  และสร้างความ

                              ปลอดภัยให้แก่ผู้ปฏิบัติงานมาตรฐานความปลอดภัยที่สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงาน

                              ปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนดขึ้นด้วย

คุณลักษณะของรถพยาบาล   แบ่งออกเป็น  2 หมวด ดังนี้คือ

                                หมวด (ก)             คุณลักษณะของรถยนต์ มีการรับประกันคุณภาพตามมาตรฐานผู้ผลิตรถยนต์กำหนด

                                                                โดยผู้ผลิตตัวรถยนต์ โดยผู้ขายไม่ต้องวางหลักประกันสัญญา

                                หมวด (ข)             คุณลักษณะของครุภัณฑ์การแพทย์ ผู้ขายต้องรับประกันคุณภาพไม่น้อยกว่า 1 ปี

                                                      โดยวางหลักประกันสัญญา

หมวด  (ก)            คุณลักษณะของรถยนต์ มีรายละเอียดดังนี้

1.   คุณลักษณะทั่วไป

1.1   เป็นรถตู้โดยสารที่ดัดแปลงมาเพื่อใช้เป็นรถพยาบาล  สีขาว สภาพใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อน                  

1.2   ความสูงตัวรถยนต์ก่อนดัดแปลงจากพื้นถนนถึงหลังคาไม่น้อยกว่า 2,280 มม.  และความกว้างภายนอกตัวรถไม่ต่ำกว่า 1,690 มม.  สามารถบรรทุกผู้ป่วยนอนในรถได้ไม่ต่ำกว่า 2 คน   และผู้โดยสารอื่นได้อีกไม่น้อยกว่า 2 ที่นั่ง ทุกที่นั่งมีเข็มขัดนิรภัยแบบดึงกลับอัตโนมัติ

1.3   กระจกเป็นแบบนิรภัยทั้งหมด ติดฟิล์มกรองแสงชนิดมาตรฐาน   

1.4   ในห้องคนขับและห้องพยาบาล ติดตั้งระบบปรับอากาศ

1.5   ในห้องคนขับ ติดตั้งเครื่องรับส่งวิทยุคมนาคม ตามข้อ 1.24

1.6   มีผนังกั้นห้องคนขับและห้องพยาบาลออกจากกัน  โดยมีช่องสำหรับสื่อสารระหว่างห้องคนขับ

        และห้องพยาบาลพร้อมประตูนิรภัยมีกุญแจปิดล็อคได้ 1 บาน

 

 

 

 

 

1.7   มีชุดสัญญาณไฟฉุกเฉินตามที่กฎหมายกำหนดแบบแถวยาวแบบกระพริบแบนไม่ต้านลม  ติดตั้งด้านหน้ารถเหนือคนขับ และชนิดกระพริบแบบ กลมเล็ก  ติดตั้งด้านหลังสุดบนหลังคารถ

1.7.1.1   เป็นไฟฉุกเฉินแบบแถวยาว  ด้านหน้าประกอบด้วยดวงไฟ LED  ครอบทับด้วยชุด

             กระจายแสง ให้ความสว่างของแสงตามมาตรฐาน   

1.7.1.2   ฝาเลนส์ครอบดวงไฟทำด้วยวัสดุ Polycarbonate ยึดติดกับแกนอลูมิเนียม  ด้านขวา ให้แสงสีแดง ด้านซ้ายให้แสงสีน้ำเงิน ขนาดของแผงไฟ (ไม่รวมขาติดตั้ง) ยาวไม่น้อยกว่า 45 นิ้ว 

    1.8   บนหลังคากึ่งกลางส่วนท้ายติดตั้งโคมไฟกระพริบแบบแฟลชฝาครอบสีน้ำเงิน  ใช้หลอด Xenon

            จำนวน 1 โคม

       1.9   มีเครื่องขยายเสียงขนาด 100 วัตต์ ใช้กับไฟกระแสตรง12 โวลท์ จำนวน 1   เครื่องซึ่งสามารถให้

              ความดังได้ 120 db ที่ระยะ 3 เมตร ติดตั้งอยู่ในห้องคนขับประกอบไปด้วย

         1.9.1     มีปุ่มหมุนเปิด-ปิดและเพิ่ม-ลดเสียง ไมโครโฟนและไซเรนในปุ่มเดียวกัน

         1.9.2     มีไมโครโฟน มีสวิทซ์สำหรับควบคุมการพูด (Push to Talk) สายไมโครโฟนเป็น

         แบบ Coiled Tubing เมื่อกดพูดจะตัดเสียงไซเรนอัตโนมัติ พร้อมที่ยึดไมโครโฟน

   1.9.3     เลือกปรับเสียงไซเรน  ให้ความแตกต่างของเสียงได้ไม่ต่ำกว่า 5  เสียง ลักษณะเสียง

               ตามที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติกำหนด    

   1.9.4    มีปุ่มปรับเลือกเสียงฉุกเฉินที่ตัวเครื่องแบบชั่วคราวสามารถประกาศได้ทันทีที่

               ต้องการ   และเสียงดังกล่าวสามารถปรับแทรกเข้าไประหว่างเสียงไซเรน

   1.9.5    ลำโพง ขนาดไม่น้อยว่า 100 วัตต์    โดยติดตั้งด้านหลังไฟฉุกเฉินบนหลังคารถ

               จำนวน 1 ตัว

   1.9.6    เป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา หรือประเทศในทวีปยุโรป          

     1.10    ห้องพยาบาลด้านซ้ายมีประตูปิด-เปิด เป็นชนิดบานเลื่อนและด้านหลังมีประตูปิด-เปิดยกขึ้น-ลง         

                    สำหรับยกเตียงผู้ป่วยเข้า-ออกจากรถพยาบาลได้  

1.11    ติดตั้งพัดลมไฟฟ้าระบายอากาศ  จำนวน 1 เครื่อง โดยมีสวิทซ์ปิด – เปิด ภายในห้องพยาบาล ฝา

           ครอบด้านบนทำด้วยพลาสติก ABS เป็นรูปทรงคล้ายหมวกเพื่อป้องกันน้ำไม่ให้เข้าห้องพยาบาล

           โดยการติดตั้งพัดลมจะต้องไม่ทำให้น้ำรั่วซึมเข้าห้องพยาบาลได้  ตัวพัดลมเป็นผลิตภัณฑ์จาก

           สหรัฐอเมริกาหรือยุโรปที่ได้มาตรฐาน ISO

 

 

 

 

 

 

 

1.12    ด้านหลังคนขับออกแบบให้มีเก้าอี้นั่งเดี่ยว 2 ที่นั่ง  หันหน้าไปทางด้านท้ายรถแบบยึดตาย 1 ตัว

           และแบบเลื่อนเข้าออกไปทางหัวเตียงผู้ป่วยได้ 1 ตัว พร้อมเข็มขัดนิรภัยแบบ 2 จุด

1.13    ด้านใต้เก้าอี้ในข้อ 1.13 ทำที่เก็บท่อบรรจุก๊าซออกซิเจน ขนาด  G  พร้อมท่อเก็บออกซิเจนขนาด G

          จำนวน 2 ท่อ  พร้อมอุปกรณ์จับยึดท่อออกซิเจนอย่างแน่นหนาท่อออกซิเจนทั้งสองเชื่อมต่อด้วยสายส่ง

         ออกซิเจนแบบสายอ่อนไปยังแผงควบคุมที่ผนังข้าง

1.14  ถัดจากตู้เก็บท่อออกซิเจน   ติดตั้งตู้เก็บเวชภัณฑ์แบบ 3 ชั้น           

     1.15   ถัดจากตู้เก็บเวชภัณฑ์   มีคอนโซลยาวจนสุดตัวรถโดยเหลือพื้นที่ไว้เก็บเก้าอี้เคลื่อนย้ายผู้ป่วย

                   สำหรับใส่เครื่องมือแพทย์ โดยออกแบบเพื่อรองรับและยึดตัวอุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉิน  ส่วน

             ด้านล่างออกแบบเป็นตู้เก็บอุปกรณ์การแพทย์

1.16    ด้านบนเหนือจากคอนโซล  ขนานไปกับตัวรถ  มีตู้เก็บเครื่องมือแพทย์พร้อมประตูปิดเปิด ขนาด

            ยาวไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร  ทำด้วยไม้อัดหุ้มหนังเทียมอย่างดี

1.17    มีที่แขวนตัว พร้อมเข็มขัดคล้องตัว สามารถรับน้ำหนักได้ไม่น้อยกว่า 80 กิโลกรัม   มีที่แขวน

                   ภาชนะใส่น้ำเกลือหรือเลือดไม่น้อยบกว่า 2 ที่  พร้อมที่รัดภาชนะทั้งสอง

1.18    มีสวิทซ์ตัดไฟฟ้า (Cut-Out) ห้องพยาบาล อยู่ในห้องคนขับเพื่อป้องกันการเปิดไฟทิ้งไว้

1.19    ห้องพยาบาล

                   1.19.1   ผนังและฝ้าเพดานภายในห้องพยาบาลบุด้วยผ้าหนังเทียมอย่างดี   มีไฟแสงสว่างแบบ

                                ทรงกลม  ใช้หลอด LED   จำนวนรวม 6 ชุด ฝังไปในเพดานไม่มีส่วนยื่นออกมา แยกสวิทช์ปิด-

                                เปิดแต่ละดวงที่แผงควบคุม

1.19.2   พื้นห้องพยาบาลทำด้วยไฟเบอร์กลาส มาตรฐาน DNV  โดยแนบเอกสารมาพร้อม  ขนาดหนา

            ไม่น้อยกว่า 1 ซม.

1.20    มีชุดเก้าอี้ม้านั่งเดี่ยวหันไปทางหน้ารถแบบมีที่รองศรีษะพร้อมเข็มขัด  และเก้าอี้ม้านั่งยาวนั่งได้ไม่น้อย

           กว่า 3 คน แบบมีพนักพิง ซึ่งในกรณีฉุกเฉิน เก้าอี้ทั้งสองสามารถปรับเป็นที่นอนสำหรับผู้ป่วยคนที่ 2

           ได้  ด้านใต้ที่นั่งตัวยาวทำเป็นที่สำหรับเก็บของโดยเบาะนั่งสามารถเปิดขึ้นค้างไว้โดยมีสายยึดแบบ

           velco รั้งไว้ในแนวตั้งได้

1.21    มีชุดฐานรองรับเตียง และชุดล็อคเตียงสำหรับยึดเตียงเมื่อเข็นขึ้น-ลงจากด้านท้ายรถ

 

 

 

 

 

 

 

 

1.22    ติดตั้งไฟกระพริบ(Flash Light) จำนวน 6 ชุด ดังนี้.-

                          1.22.1   ขนาดเล็ก ด้านหน้า 2 ชุด แบบหลอด LED  ยึดติดกับฝากระโปรงรถยนต์ช่วงบน โดยให้  

                                       ด้านหน้าโคมหันไปในแนวตั้งเพื่อให้แสงสว่างขนานไปกับพื้น โคมแต่ละชุดมีหลอด LED

                                       ครอบทับด้วยเลนส์กระจายแสง ด้านขวาให้แสงสีแดง   ด้านซ้ายให้แสงสีน้ำเงิน

1.22.2   ด้านข้างซ้ายขวาติดตั้งไฟกระพริบแบบหลอด LED  จำนวนข้างละ 2 ดวง โคมแต่ละ

                                        ดวงมีหลอด LED    ครอบทับด้วยเลนส์ใสกระจายแสงแล้วปิดทับด้วยฝาใสอีกชั้นหนึ่ง  เพื่อ

ป้องกันน้ำและฝุ่นละออง

1.22.3   ด้านหลังมีโคมไฟกระพริบ  แบบใช้หลอด LED       ให้แสงสีแดงและสีน้ำเงิน  ในโคมเดียวกัน

ปิดทับด้วยฝาใสอีกชั้นหนึ่ง  เพื่อป้องกันน้ำและฝุ่นละออง อีก 2 ดวง  ในประตูท้าย

1.22.4   มีโคมไฟสปอร์ตไลท์ ยึดติดกับรางน้ำด้านข้าง ด้านละ 2 ดวงใช้หลอดฮาโลเจ้นท์ไม่น้อยกว่า

             หลอดละ 55 วัตต์ สามารถปรับก้มเงยได้

1.22.5   ติดตั้งโคมไฟสปอร์ตไลท์บริเวณเพดานด้านหลังในห้องพยาบาล ขนาดไม่น้อยกว่า 55 วัตต์

                                        จำนวน 1 ดวงปรับก้มเงยได้เช่นกัน

1.22.6   เพดานในห้องพยาบาลติดตั้งราวแสตนเลส ขนาดยาวไม่น้อยกว่า 1.30 เมตร  ข้างพัดลมดูด 

             อากาศ  มีลักษณะยาวขนานไปกับเตียงผู้ป่วย สำหรับเจ้าหน้าที่และญาติ ที่มีความแข็งแรงและ

             ทนทาน

1.23    มีชุดแปลงไฟฟ้าจากไฟฟ้ากระแสตรง 12 V. เป็นไฟฟ้ากระแสสลับ 220 V.    ขนาดใช้งานได้ไม่

                   น้อยกว่า 1000 วัตต์  พร้อมปลั๊กเสียบไฟฟ้า 220 V. จำนวน 2 จุด  และมีปลั๊กไฟฟ้าแบบที่จุดบุหรี่

                   12 V.  1 จุด   และมีชุดสายพ่วงต่อสำหรับใช้ไฟ 220 V. มีความยาวไม่น้อยกว่า 20 เมตร

             พร้อมเต้าเสียบ

1.24    วิทยุคมนาคม  ระบบ VHF/FM ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์   มีคุณลักษณะดังนี้

1.24.1      เป็นเครื่องวิทยุคมนาคมระบบ  VHF/FM  ชนิดติดตั้งในรถยนต์

1.24.2      เป็นเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้งานได้ดี  ในย่านความถี่ 136 MHz  ถึง  174 MHz              

                                   สามารถใช้งานได้ทั้งระบบ Simplex  และ  Semi Duplex

1.24.3     ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง 12 Volts จาก Battery

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.24.4      มีช่องความถี่ในการใช้งานไม่น้อยกว่า 11 ช่อง

1.24.5      RF  Input / Output  Impedance = 50 Ohm

1.24.6      ต้องเป็นเครื่องแบบสังเคราะห์ความถี่  ตั้งความถี่ใช้งานโดยการโปรแกรมความถี่

1.24.7      เสถียรภาพทางความถี่ ( Frequency Stability)  ± 5 PPM  หรือน้อยกว่า

1.24.8      หน้าปัทม์เครื่องวิทยุคมนาคม มี Indicator แสดงขณะทำการส่งวิทยุ

1.24.9      มีวงจร CTCSS ( Continuous Tone Control Squelch System ) ควบคุมการทำงาน

ของเครื่องวิทยุคมนาคม

1.24.10    เป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา  หรือทวีปยุโรป  หรือประเทศญี่ปุ่น

2.     คุณลักษณะทางเทคนิค

2.1    ระบบเครื่องยนต์   เป็นเครื่องดีเซลชนิด 4 สูบ  ปริมาตรความจุภายในกระบอกสูบไม่น้อยกว่า

                                       2,400  ซีซี.   มีกำลังเครื่องยนต์สุทธิไม่น้อยกว่า 80 กิโลวัตต์

2.2    ระบบกันสะเทือน ล้อหน้า  แบบอิสระปีกนกคู่ และทอร์ชั่นบาร์สปริงพร้อมเหล็กกันโคลง

                                 ล้อหลัง  แบบแหนบซ้อนและโช้คอัพช่วย

        2.3    ระบบพวงมาลัย    ขับด้านขวาระบบแรคแอนด์พีเนี่ยน พร้อมพาวเวอร์ช่วยผ่อนแรง

        2.4    ระบบห้ามล้อ   แบบไฮโดรลิคมีหม้อลมช่วย ดิสเบรคล้อหน้า  ดรัมเบรคล้อหลัง  มีห้ามล้อมือ

        2.5    ระบบส่งกำลัง  ใช้เกียร์กระปุก มีเกียร์เดินหน้าไม่น้อยกว่า 5 เกียร์  เป็นแบบซินโครเมทและเกียร์

                                          ถอยหลัง 1 เกียร์             

        2.6    ระบบไฟฟ้า  ใช้แบตเตอรี่ขนาด 12 โวลท์   พร้อมทั้งอุปกรณ์และโคมไฟฟ้าประจำรถครบถ้วน

2.7    ความยาวช่วงล้อหน้า – หลัง  ไม่น้อยกว่า  2,700  มม.

3.     อุปกรณ์และครุภัณฑ์ประจำรถพยาบาลฉุกเฉินระดับสูง

3.1      ครุภัณฑ์และเครื่องมือประจำรถพยาบาลระดับสูง

3.1.1    ยางอะไหล่พร้อมกระทะล้อตามขนาดมาตรฐาน                                 1    ชุด

3.1.2    แม่แรงยกรถพร้อมด้ามแบบมาตรฐานประจำรถของผู้ผลิต                   1    ชุด

3.1.3    ประแจถอดล้อ                                                                                                 1    อัน  

3.1.4    เครื่องมือประจำรถตามมาตรฐานผู้ผลิต                                            1   ชุด

 

 

 

 

 

 

 

 

3.1.5    ติดสติ๊กเกอร์

3.1.5.1   ลายคาด 1 ชุด (ตราหมากรุก) สีแดง สลับขาวแบบสะท้อนแสง  ที่ภายนอกตัวรถ

3.1.5.2   แสดงชื่อ  สัญลักษณ์หน่วยงาน  ตามที่ทางราชการกำหนด              

3.1.6     เข็มขัดนิรภัยประจำที่นั่งคนขับและที่นั่งข้างคนขับตอนหน้า 3   ชุด

3.1.7     อุปกรณ์ทั้งหมดนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ให้เป็นไปตามรูปแบบ (Catalog)  และ

             มาตรฐานของผู้ผลิต

หมวด (ข)   คุณลักษณะของครุภัณฑ์การแพทย์  และเงื่อนไขเฉพาะ

1.   ครุภัณฑ์การแพทย์

1.1        มีเตียงนอนสำหรับผู้ป่วยแบบมีล้อเข็น 1 เตียง มีรายละเอียดดังนี้

1.1.1      ตัวเตียงและโครงทำจากโลหะผสมปลอดสนิม   มีความแข็งแรงสามารถนวดหัวใจได้

              ทันที     โดยไม่ต้องใช้แผ่นกระดานรองหลัง

1.1.2      แผ่นรองตัวผู้ป่วยทำจากอลูมิเนียมแผ่นอย่างดี

1.1.3      พนักพิงหลังเป็นระบบกลไกหรือช็คอัพ ช่วยยกตัวผู้ป่วยขึ้น-ลงสามารถ ปรับระดับได้ไม่น้อยกว่า 70 องศา

1.1.4      การปรับเปลี่ยนจาก เตียงนอนเป็น รถเข็นสามารถทำได้สะดวกโดยเจ้าหน้าที่คน

              เดียว

1.1.5                    สามารถเข็นขึ้นรถพยาบาลได้ง่ายโดยเจ้าหน้าที่คนเดียว ขาเตียงคู่หน้าและคู่หลังมี

ด้ามจับคันบังคับล้อให้พับไปกับฐานเตียงและเมื่อดึงเตียงลงจากรถล้อคู่หลังและ

              ล้อคู่หน้าจะกางออกเองโดยอัตโนมัติ   (Automatic Loading Stretchers )

1.1.6      มีเบาะรองนอนตลอดความยาวของเตียงสามารถพับได้สะดวกตามลักษณะของ

              เตียง   และถอดล้างทำความสะอาดได้   พร้อมสายรัดผู้ป่วย 2 เส้น

1.1.7                    น้ำหนักเตียงไม่เกิน  42  กิโลกรัม สามารถรับ น้ำหนักผู้ป่วยได้ไม่น้อยกว่า  160  กิโลกรัม

1.1.8                    มีที่เสียบเสาน้ำเกลือทั้งด้านซ้ายและขวา พร้อมเสาน้ำเกลือ  จำนวน  1  เสา

              สามารถปรับระดับสูงต่ำได้ และยึดติดกับโครงเตียงได้อย่างมั่นคง

1.1.9                    เป็นผลิตภัณฑ์ภายในประเทศหรือผลิตภัณฑ์ยุโรปหรืออเมริกา  

 

 

 

 

 

 

 

 

1.2        ชุดล็อคศีรษะกับแผ่นกระดานรองหลังผู้ป่วย (Head Immobilizer) มีรายละเอียดดังนี้

1.2.1    สามารถใช้ล็อคศีรษะผู้บาดเจ็บกับแผ่นกระดานรองหลัง (Long Spinal Board) ได้อย่างมั่นคง  โดยมีก้อนโฟมรูปทรงสี่เหลี่ยม 2 ชิ้นสำหรับประคองด้านข้างศีรษะผู้บาดเจ็บและมีฐานรองสำหรับยึดติดกับแผ่นกระดานรองหลัง

                             1.2.2    ตัวก้อนโฟมในข้อ 1.2.1 ทำจากฟองน้ำและภายนอกชุบเคลือบด้วยโพลียูลีเทน

                                         เหลวทั้งชิ้น  ผิวโดยรอบเรียบเป็นชิ้นเดียว ไม่มีรู รอยปะ รอยต่อ ที่จะทำให้

                                         ของเหลวซึมผ่านเข้าไปทำให้เกิดความหมักหมมภายในได้  โดยด้านล่างของก้อน

                                         โฟมมีแผ่นหนามเตยแบบปะติด (Velcro Fastener) สำหรับยึดติดกับตัวฐาน

                             1.2.3    ฐานรองในข้อ 1.2.1 มีสายรัดสำหรับรัดโดยรอบแผ่นกระดานรองหลังอย่างมั่นคง

                                        และมีแผ่นหนามเตยแบบปะติด (Velcro Fastener) สำหรับยึดก้อนโฟม

                               1.2.4    มีสายรัดจำนวน 2 เส้น   สำหรับยึดหน้าผากและคางผู้บาดเจ็บ

                             1.2.5    ผิววัสดุไม่ซึมซับของเหลวสามารถล้าง แช่ ทำความสะอาดได้ทั้งชิ้น

                             1.2.6    แสง  X- Ray  สามารถผ่านได้   ไม่มีโลหะเป็นวัสดุ                                                                   

                1.3        ชุดแผ่นรองหลังผู้ป่วย (Long Spinal Board) จำนวน 1 ชุด มีรายละเอียดดังนี้

  1.3.1    ทำด้วยพลาสติก Polyethylene ทนแรงกระแทกและสามารถกันน้ำได้

  1.3.2    มีขนาดความยาวไม่น้อยกว่า 180 ซม.  มีความกว้างไม่น้อยกว่า 40 ซม.   และน้ำหนักไม่

              เกิน 7 กิโลกรัม

  1.3.3    สามารถรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ไม่น้อยกว่า 160 กก.

  1.3.4    แสง X – ray สามารถผ่านได้  และสามารถรับน้ำหนักขณะทำ CPR ผู้ป่วยได้

  1.3.5    มีสายรัดผู้ป่วย ที่ปรับขนาดและมีอุปกรณ์ล็อกได้จำนวน 3 เส้น            

 1.3.6    เป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา หรือทวีปยุโรป หรือประเทศไทย

  1.4     ชุดช่วยหายใจชนิดใช้มือบีบสำหรับเด็ก  1  ชุด   และผู้ใหญ่ 1  ชุด  ประกอบด้วย

                           1.4.1    ถุงลมสำหรับบีบอากาศช่วยหายใจผลิตจากยางซิลิโคน จำนวน 1 ชิ้น

                           1.4.2    ท่อหรือถุงสำรองออกซิเจน จำนวน 1 ชิ้น (Reservoir Bag)

                           1.4.3    หน้ากากครอบปากและจมูก ผลิตจากยางซิลิโคน แบบโปร่งใส  จำนวน 3 ขนาด

                                        ขนาดละ 1 อัน

 

 

 

 

 

 

 

                           1.4.4    ท่อยางป้องกันคนไข้กัดลิ้น   (Air way ) ผู้ใหญ่ 3 อัน เด็ก 2 อัน

1.4.5    กล่องบรรจุอุปกรณ์การใช้งานทั้งหมด

 1.4.6    เป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา หรือทวีปยุโรป             

1.5     เครื่องส่องกล่องเสียง ( Laryngoscope )   จำนวน 1 เครื่อง      โดยมีอุปกรณ์ดังต่อไปนี้

  1.5.1    ด้ามถือพร้อมแผ่นส่องตรวจเป็นโลหะไร้สนิม 

 1.5.2    มีแผ่นส่องตรวจ ( Blade ) เป็นโลหะปลอดสนิม

  1.5.3    มีกล่องแข็งเก็บอย่างดี  มีช่องแยกเป็นสัดส่วนของอุปกรณ์แต่ละชิ้น

     1.6     เครื่องดูดของเหลว ( Suction Pump ) จำนวน 1 เครื่อง   มีรายละเอียดดังนี้    

 1.6.1    ใช้ได้กับไฟฟ้ากระแสตรง 12 โวลท์

 1.6.2    มีปุ่มควบคุมแรงดูด พร้อมมาตรวัดแสดงแรงดูด

 1.6.3    สามารถปรับแรงดูดสูงสุดได้ไม่น้อยกว่า 750 มิลลิบาร์

 1.6.4    ภาชนะบรรจุของเหลวมีขนาดปริมาตรความจุไม่น้อยกว่า 1,000 มิลลิลิตร  

             จำนวน 1 ใบ

 1.6.5    มีสายดูด (Suction Tubing) ยาวไม่น้อยกว่า 1.3 เมตร

 1.6.6                    เป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา หรือทวีปยุโรป   

               1.7        เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดติดฝาผนัง จำนวน 1 เครื่อง   มีรายละเอียดดังนี้

1.7.1     เป็นแบบ Wall Aneroid  ติดตั้งยึดกับผนังห้องพยาบาล

1.7.2     สามารถวัดความดันโลหิตได้ไม่น้อยกว่า 0-300 มิลลิเมตรปรอท

1.7.3     มีผ้าพันแขนสำหรับผู้ใหญ่ 1 ชุด เป็นชนิดปะติด (Velcro Fastener)

1.7.4      สายยางต่อจากผ้าพันแขนเป็นแบบ Coiled Tubing

1.7.5     ลูกยางสำหรับอัดลมผ้าพันแขน พร้อมลิ้นปิด-เปิด สะดวกต่อการควบคุม             

1.7.6      เป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา หรือทวีปยุโรป

1.8        กระเป๋าสำหรับใส่อุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉิน จำนวน 1 ใบ พร้อมหูฟัง   จำนวน 1 ชุด 

1.9       ชุดป้องกันกระดูกคอเคลื่อน (Cervical collar) จำนวน 1 ชุด   มีรายละเอียดดังนี้                

1.9.1   โครงภายนอกเป็นพลาสติก ส่วนภายในเป็นโฟมอ่อน

1.9.2   ประกอบติดกัน โดยสายรัดแบบปะติด ( Velcro  Fastener )

1.9.3   เป็นชนิดปรับขนาดตามความยาวขอคอผู้ป่วยได้

 

 

 

 

 

 

 

1.9.4   ส่วนหน้ามีช่องสำหรับการเจาะหลอดลม

1.9.5   ใน 1 ชุด  มี  2 ขนาด สำหรับผู้ใหญ่และเด็ก อย่างละ 1 ชิ้น

1.9.6   เป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ ยุโรป หรือญี่ปุ่น

 1.10     ชุดเฝือกลม (Vacuum splint set) จำนวน 1 ชุด มีรายละเอียดดังนี้

1.10.1   โครงสร้างทำจาก Vinyl ภายในบรรจุเม็ดโฟมซึ่งจะแข็งตัวเมื่อดูดลมออก และไม่

บีบรัดร่างกาย          

1.10.2   มีปุ่มปิดเปิดลม

1.10.3   มีสายรัด สำหรับใช้รัดหรือห่อชุดอุปกรณ์กับร่างกาย

1.10.4   แสงเอกซเรย์สามารถผ่านได้

1.10.5   มี 2 ขนาด  สำหรับใช้งานที่  ขา-แขน

1.10.6   มีที่สูบลมทำจากวัสดุอลูมิเนียม 

1.10.7   มีถุงผ้าอย่างดี จำนวน 1 ใบ   สำหรับใส่อุปกรณ์ทั้งหมด

1.11  ชุดให้ Oxygen สำหรับใช้กับผู้ป่วยและขับดันเครื่องช่วยหายใจอัตโนมัติที่ติดตั้งในรถยนต์พยาบาลมี

         คุณลักษณะและอุปกรณ์ประกอบดังต่อไปนี้

1.11.1    ชุดปรับลดความดันก๊าซออกซิเจน (Oxygen Regulator) จาก 2,000 PSI เป็น 50  PSI

              จำนวน 2  ชุด   โดยติดตั้งเข้ากับปากท่อออกซิเจนโดยสามารถเปิดใช้งานจากในรถได้

1.11.2    ติดตั้ง Flow meter – Humidifier   ที่แผงควบคุม จำนวน1 ชุดพร้อม Mass สำหรับผู้ป่วย

1.11.3   ติดตั้งแป้น Outlet สำหรับจ่ายออกซิเจนพร้อมหัวต่อและสายต่อที่สามารถต่อกับเข้ากับ

              เครื่องช่วยหายใจที่ติดตั้งในรถพยาบาลได้

1.11.4    อุปกรณ์ต่อเชื่อมและปรับลดความดันก๊าซเป็นอุปกรณ์มาตรฐานทางการแพทย์โดยเฉพาะ

             (ห้ามใช้อุปกรณ์สำหรับงานอุตสาหกรรมโดยเด็ดขาด)

1.11.5     เดินสายส่งออกซิเจนด้วยสายสำหรับออกซิเจนโดยเฉพาะมายังแผงควบคุม โดยที่ตัวสาย

              ต้องมีสัญลักษณ์ว่าเป็นสายใช้สำหรับออกซิเจนโดยตรง

1.11.6     ติดตั้ง Pressure Guage เพื่อแสดงแรงดันออกซิเจนในสายส่งให้ทราบตลอดเวลา

 

 

 

 

 

 

 

 

1.12        เก้าอี้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยชนิดเข็นได้สามารถพับเก็บได้สะดวก (Stair chair)  จำนวน  1  ตัว   มี

รายละเอียดดังนี้                 

                                1.12.1&nbs

ข้อมูลไฟล์ที่เกี่ยวข้อง
ไม่มีข้อมูล!!